ตอนที่ 6 : Docufiction และ Docudrama คืออะไร? ทำไม ‘เรื่องแต่ง’ ถึงมาอยู่รวมกับ ‘สารคดี’?

ขึ้นชื่อว่าเป็น “สารคดี” แล้วทำไมยังมีสิ่งที่เรียกว่า “เรื่องแต่ง” มาผสมได้? บทความนี้ชวนรู้จัก Docufiction และ Docudrama ที่ทำให้คนชอบหนังสารคดีต้องสับสนอยู่บ่อย ๆ
ตอนที่ 5 : วิธีเล่าแปลก ๆ แบบนี้ ก็เรียกว่า “หนังสารคดี” เหมือนกันนะ

เมื่อพูดถึง “สารคดี” หลายคนอาจนึกถึงภาพคนนั่งให้สัมภาษณ์หน้ากล้อง เสียงบรรยายเหตุการณ์ อินโฟกราฟิกนำเสนอข้อมูล ฯลฯ แต่จริง ๆ แล้วหนังสารคดีสามารถใช้ศิลปะแห่งการเล่าเรื่องด้วยภาพและเสียงได้หลากหลายไม่ต่างจากหนังกลุ่มอื่น เราลองมาดูตัวอย่างที่น่าสนใจกัน
นีโอ โซระ : ความฝัน การเมือง วัยรุ่น ดนตรี – Happyend

Happyend เป็นหนังวัยรุ่นที่ถ่ายทอดเรื่องราวของมิตรภาพและการเติบโต บนฉากหลังของสังคมยุคใกล้อนาคตที่กำลังจะล่มสลาย ท่ามกลางการแผ่ขยายของความเกลียดชังทางการเมือง อะไรทำให้ “นีโอ โซระ” คิดเรื่องราวเช่นนี้-แบบที่หาดูได้ไม่ง่ายเลยในหนังวัยรุ่นญี่ปุ่น-ออกมาได้ ซ้ำยังทำมันได้อย่างงดงามเหลือเกิน …บ่ายวันหนึ่งขณะที่เขาเดินทางมาเยือนกรุงเทพฯ เราไปพูดคุยกับเขาเพื่อค้นหาคำตอบ
ตอนที่ 4 : ‘หนังสารคดี’ เปลี่ยนสังคมได้จริงไหม

หนังสารคดีเปลี่ยนโลก เปลี่ยนสังคม หรืออย่างน้อยที่สุดก็เปลี่ยนทัศนคติของคนได้จริงไหม และถ้าจริง อะไรคือคุณสมบัติพิเศษที่ทำให้หนังสารคดีทำได้ถึงขนาดนั้น
ตอนที่ 3 : ‘สารคดี’ เล่าได้กี่แบบ? มาทำความรู้จักวิธีเล่า 6 แบบเบื้องต้น

จับคนมานั่งสัมภาษณ์หน้าฉากสีเทา ๆ, เอาข้อมูลยาก ๆ มาทำอินโฟกราฟิกให้คนดูง่าย ๆ, ใส่เสียงบรรยายอธิบายความตามภาพที่เห็น …ภาพจำของ “สารคดี” ของหลาย ๆ คนอาจเป็นเช่นนี้ แต่ความจริงแล้ว สารคดีมีความหลากหลายในวิธีการนำเสนอมากกว่านั้น
ตอนที่ 2 : ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของสารคดีโลก

ย้อนรอยประวัติศาสตร์สารคดี จุดเปลี่ยนสำคัญ และผลงานที่มีอิทธิพลต่อวงการโลกตลอด 100 กว่าปีที่ผ่านมา
ตอนที่ 1 : ‘สารคดี’ คืออะไร

หากคุณเดินเข้าไปในโรงภาพยนตร์ที่ประกาศว่าฉาย “หนังสารคดี” คุณควรคาดหวังว่าจะได้เห็นอะไรบนจอ? หนังที่บันทึกความจริงอย่างตรงไปตรงมา? หนังที่ถ่ายทอดความเห็นโดยหวังจะเปลี่ยนมุมมองของคุณ? หนังที่คนทำหยิบโลกแห่งความเป็นจริงมาเล่าใหม่ให้เต็มไปด้วยอารมณ์? ทั้งหมดนี้อาจถือเป็นหนังสารคดีทั้งสิ้น และโลกนี้ยังมีวิธีนำเสนอความจริงอีกมากมายที่ท้าทายคำนิยามอยู่เสมอ
Aftersun: มิติของสุนทรียศาสตร์แห่งการถ่ายทอดความรัก ความเจ็บปวด และตัวตนที่พร่าเลือน

มันไม่ใช่หนังเรียบง่ายอย่างที่เข้าใจตอนแรกเลย แต่เป็นหนังที่เต็มไปด้วย “ความหมาย” ที่ถ่ายทอดความเจ็บปวด ความรัก และนัยทางวัฒนธรรมของคนอังกฤษในช่วงทศวรรษ 1990 ได้อย่างลึกซึ้งด้วยศิลปะภาพยนตร์ที่แหวกขนบไวยากรณ์
นนทวัฒน์ นำเบญจพล กับ “ดินไร้แดน” : คนเมืองกับเรื่องชายแดน

มีนักทำหนังไทยไม่กี่คนที่เอาดีทางการทำสารคดีอย่างจริงจัง หนึ่งในนั้นคือ “นนทวัฒน์ นำเบญจพล” ผู้ใช้สารคดีบอกเล่าถึง “คนนอก” และตั้งคำถามต่อสังคมมาโดยตลอด
คุยกับไพลิน วีเด็ล ผู้พาสารคดี Hope Frozen คว้ารางวัลใหญ่ และอีกมุมของสังคมไทยในสายตาโลก

จากนักข่าวสู่ผู้กำกับสารคดี คุยกับไพลินถึงพลังของการเล่าเรื่อง เมืองไทยในสายตาต่างชาติ และการต่อสู้ยาวไกลของเธอกว่าจะมาถึงวันคว้ารางใหญ่ระดับโลก
51 ปี “ปฏิวัติพฤษภา 1968” (May 1968) : รู้จักประวัติศาสตร์เบื้องหลังหนัง The Dreamers

เหตุการณ์ประท้วงปี 1968 ของฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในตัวอย่างคลาสสิกของโลก ว่าด้วยแรงกระเพื่อมจากคนกลุ่มเล็กๆ ผู้ไม่อาจทนการถูกรัฐทอดทิ้งได้อีกต่อไป!
เบื้องหลัง “การแปลเพลง” ใน Hurry Go Round

ชวนสนทนากับนักแปลซับไตเติลมือดี พลากร เจียมธีระนาถ ว่าด้วยการแปลเพลงของ “ฮิเดะ” ในสารคดีเรื่อง Hurry Go Round ให้เป็นภาษาไทย
10 คำถามกับอานเญส วาร์ดา : ชิงออสการ์แล้วไงยะ? ย่าโนสนโนแคร์

การได้ชิงออสการ์เป็นความฝันของคนทำหนังมากมาย แต่ อานเญส วาร์ดา ไม่คิดงั้นเมื่อได้ยินว่า Faces Places เป็น 1 ใน 5 สารคดีที่มีสิทธิลุ้นออสการ์ประจำปี 2018!
สนทนากับ อานเญส วาร์ดา และ เจอาร์ : ว่าด้วยเบื้องหลัง Faces Places

สองศิลปินที่อายุห่างกันถึง 55 ปี มาเดินทางด้วยกันแล้วสร้างหนังมาสเตอร์พีซอบอุ่นหัวใจที่คนทั้งโลกหลงรักเรื่องนี้ได้อย่างไร?
10 Stories about “JR”

ก่อนมาร่วมงานกับ อานเญส วาร์ดา ใน Faces Places เจอาร์เป็นใครทำอะไรมาก่อน? ขอแนะนำให้คุณรู้จัก 10 เรื่องเบื้องต้นของศิลปินหนุ่มสุดเจ๋งคนนี้