
ตอนที่ 7 : รู้จัก Mockumentary – นึกว่าเป็นสารคดี แต่ที่แท้แค่ ‘หยอก ๆ’
เจาะลึก Mockumentary – สารคดีปลอมที่ใช้เทคนิคเหมือนจริง แต่แท้จริงคือเรื่องแต่ง ตั้งแต่ยุคบุกเบิกจนถึงยุคทอง สำรวจบทบาท ความขัดแย้ง และไปดูตัวอย่างเด่น ๆ กัน
เจาะลึก Mockumentary – สารคดีปลอมที่ใช้เทคนิคเหมือนจริง แต่แท้จริงคือเรื่องแต่ง ตั้งแต่ยุคบุกเบิกจนถึงยุคทอง สำรวจบทบาท ความขัดแย้ง และไปดูตัวอย่างเด่น ๆ กัน
ขึ้นชื่อว่าเป็น “สารคดี” แล้วทำไมยังมีสิ่งที่เรียกว่า “เรื่องแต่ง” มาผสมได้? บทความนี้ชวนรู้จัก Docufiction และ Docudrama ที่ทำให้คนชอบหนังสารคดีต้องสับสนอยู่บ่อย ๆ
เมื่อพูดถึง “สารคดี” หลายคนอาจนึกถึงภาพคนนั่งให้สัมภาษณ์หน้ากล้อง เสียงบรรยายเหตุการณ์ อินโฟกราฟิกนำเสนอข้อมูล ฯลฯ แต่จริง ๆ แล้วหนังสารคดีสามารถใช้ศิลปะแห่งการเล่าเรื่องด้วยภาพและเสียงได้หลากหลายไม่ต่างจากหนังกลุ่มอื่น เราลองมาดูตัวอย่างที่น่าสนใจกัน
หนังสารคดีเปลี่ยนโลก เปลี่ยนสังคม หรืออย่างน้อยที่สุดก็เปลี่ยนทัศนคติของคนได้จริงไหม และถ้าจริง อะไรคือคุณสมบัติพิเศษที่ทำให้หนังสารคดีทำได้ถึงขนาดนั้น
จับคนมานั่งสัมภาษณ์หน้าฉากสีเทา ๆ, เอาข้อมูลยาก ๆ มาทำอินโฟกราฟิกให้คนดูง่าย ๆ, ใส่เสียงบรรยายอธิบายความตามภาพที่เห็น …ภาพจำของ “สารคดี” ของหลาย ๆ คนอาจเป็นเช่นนี้ แต่ความจริงแล้ว สารคดีมีความหลากหลายในวิธีการนำเสนอมากกว่านั้น
ย้อนรอยประวัติศาสตร์สารคดี จุดเปลี่ยนสำคัญ และผลงานที่มีอิทธิพลต่อวงการโลกตลอด 100 กว่าปีที่ผ่านมา
หากคุณเดินเข้าไปในโรงภาพยนตร์ที่ประกาศว่าฉาย “หนังสารคดี” คุณควรคาดหวังว่าจะได้เห็นอะไรบนจอ? หนังที่บันทึกความจริงอย่างตรงไปตรงมา? หนังที่ถ่ายทอดความเห็นโดยหวังจะเปลี่ยนมุมมองของคุณ? หนังที่คนทำหยิบโลกแห่งความเป็นจริงมาเล่าใหม่ให้เต็มไปด้วยอารมณ์? ทั้งหมดนี้อาจถือเป็นหนังสารคดีทั้งสิ้น และโลกนี้ยังมีวิธีนำเสนอความจริงอีกมากมายที่ท้าทายคำนิยามอยู่เสมอ