
Songs of Repression
ณ เทือกเขาแอนดีสในชิลี เป็นที่ตั้งของหมู่บ้านชาวเยอรมันเล็กๆ ที่แสนงดงามร่มรื่น …แต่เบื้องหลังความสงบงามนั้น คือประวัติศาสตร์บาดแผลโหดร้ายที่ไม่มีใครต้องการเอ่ยถึง!
“ผมไม่ใช่นิโกร
ผมเป็นมนุษย์
หากคุณเห็นผมเป็นนิโกร
ก็เพราะคุณต้องการให้ผมเป็นอย่างนั้น
…และคุณต้องหาคำตอบเองให้พบว่ามันเป็นเพราะอะไร”
– เจมส์ บาลด์วิน
จากต้นฉบับหนังสือ 30 หน้าที่ เจมส์ บาลด์วิน กวี นักเขียน และนักต่อสู้ชาวอเมริกันผิวสีขึ้นต้นไว้และไม่เคยมีโอกาสเขียนให้เสร็จสิ้น สู่หนังสารคดีทรงพลังรุนแรงที่สุดเรื่องหนึ่งของปีที่ “จดหมายบันทึกความทรงจำถึงบ้านเกิดเมืองนอนที่ผมทั้งรักทั้งชัง” ดังกล่าว ถูกนำมาถ่ายทอดด้วยเสียงของแซมวล แอล แจ็คสัน และภาพฟุตเตจประวัติศาสตร์ช่วงสำคัญตลอดระยะเวลาการต่อสู้เพื่อเสรีภาพของ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง, มัลคอล์ม เอ็กซ์ และเม็ดการ์ เอเวอร์ส ก่อนที่พวกเขาทั้งสามจะต้องจบชีวิตลงด้วยการถูกลอบสังหาร
In 1979, James Baldwin wrote a letter to his literary agent describing his next project, “Remember This House.” The book was to be a revolutionary, personal account of the lives and assassinations of three of his close friends: Medgar Evers, Malcolm X and Martin Luther King, Jr. At the time of Baldwin’s death in 1987, he left behind only 30 completed pages of this manuscript. Filmmaker Raoul Peck envisions the book James Baldwin never finished.
ณ เทือกเขาแอนดีสในชิลี เป็นที่ตั้งของหมู่บ้านชาวเยอรมันเล็กๆ ที่แสนงดงามร่มรื่น …แต่เบื้องหลังความสงบงามนั้น คือประวัติศาสตร์บาดแผลโหดร้ายที่ไม่มีใครต้องการเอ่ยถึง!
จากเหตุการณ์เพลิงไหม้ในคลับ สู่การเปิดโปงความฉ้อฉลครั้งมโหฬารของระบบสาธารณสุขและรัฐบาล ที่เดิมพันด้วยชีวิตของประชาชนและจริยธรรมของ “สื่อมวลชน”
ย้อนประวัติศาสตร์ไปตื่นตะลึงกับชัยชนะระดับปรากฏการณ์โลกของทีมวอลเลย์บอลหญิงญี่ปุ่น เจ้าของฉายา “แม่มดแห่งตะวันออก”
แกร์ฮาร์ด ชไตเดิล คือเจ้าของสำนักพิมพ์เก่าแก่ในเยอรมนีผู้เลื่องชื่อด้านความรักในการออกแบบและการจัดพิมพ์หนังสือ เขามีวิธีคิดและวิธีรักษาคุณค่าของ “สื่อเก่า” ชนิดนี้ไว้ได้อย่างไรในโลกที่ใครๆ ก็บอกว่า “สิ่งพิมพ์ตายแล้ว”?
เรื่องจริงเหลือเชื่อเมื่อสุดยอดคนทำหนังเกาหลีใต้ถูกคิมจ็องอิลลักพาตัวไป “พัฒนาวงการหนังเกาหลีเหนือ”!
สารคดีเรื่องราวแห่งการสู้ยิบตาของ เจน เจคอบส์ ไอดอลขวัญใจนักออกแบบเมืองทั่วโลก
ในสมรภูมิสื่อที่ครอบครองโดยผู้ชายมาช้านาน หนังสือพิมพ์และสำนักข่าวเล็ก ๆ ชื่อ “คาบาร์ลาฮารียา” ผงาดขึ้นสร้างปรากฏการณ์ใหม่อย่างอาจหาญ
การต่อสู้เรียกร้องให้สถาปัตยกรรมได้รับการคุ้มครองในฐานะมรดกทางวัฒนธรรม และเครื่องหมายทางอัตลักษณ์ของมนุษยชาติ เพื่อจะรอดพ้นการถูกทำลายในวิกฤติความขัดแย้ง
documentaryclubthai@gmail.com
Movies Matter Co.,Ltd© All Rights Reserved 2022
subscribe to newsletter to stay up to date with our films & events