Traces and Fragments of Memory

กำกับ : วิชชานนท์ สมอุ่มจารย์ / 1 ชม. 22 นาที

With a function of camera recorded. The filmmaker started filming “Prang Sam Yot” an archaeological site in Lopburi Province in the south-northern of Thailand. And then the story jump to “Prang Ku” an archaeological site in Khon Kaen Province in the north-eastern with same architecture. Like a poetry cinema. The film recorded everyday life and realism with non-linear. Lopburi, Khon Kaen and Bangkok or sometime in “non-place”

“Traces and Fragments of Memory” is an experimental film in creative documentary style. The filmmaker convey an aesthetic of the film by deconstructed a “Hollywood Film Language”. It’s try the film back to the first conception of cinema without intervene.

more

Tove

ชีวิตสุดโลดโผนของ “ตูเว ยานซอน” ศิลปินตกยากผู้ผ่านทั้งความผิดหวังในอาชีพและความเจ็บปวดในความรัก ก่อนที่ทั้งหมดจะกลายร่างเป็นแรงบันดาลใจให้เธอสร้างผลงานยิ่งใหญ่และเป็นที่รักของคนทั้งโลก

Oasis

‘ฮงจงดู’ เพิ่งพ้นโทษจากคุกและติดต่อครอบครัวของชายที่ตายเพราะน้ำมือเขา ในบ้านหลังนั้น เขาได้พบ ‘ฮันกงจู’ หญิงสาวที่เป็นอัมพาตเพราะโรคสมองพิการ ท่ามกลางสังคมที่ไม่เข้าใจและครอบครัวที่ไม่ยอมรับ ความสัมพันธ์อันลึกซึ้งระหว่างคนนอกสองคนเริ่มก่อตัวขึ้น

La Chimera

คนทุกคนมี “คิเมร่า” เป็นของตัวเอง และคนทุกคนใฝ่ฝันอยากครอบครองมัน… แต่ยากนักที่จะหามันพบ สำหรับเหล่าโจรปล้นสุสานเพื่อขโมยวัตถุและสิ่งสวยงามมหัศจรรย์ทางโบราณคดี คิเมร่าหมายถึงความฝันที่จะได้ร่ำรวยมั่งคั่งอย่างรวดเร็ว และสำหรับชายหนุ่มชื่ออาร์เธอร์ คิเมร่าอาจหมายถึงหญิงสาวผู้เป็นที่รัก ซึ่งบัดนี้เขาได้สูญเสียเธอไปแล้ว

Let the Child Be the Guide

การศึกษาแบบไหนกันแน่ที่มนุษย์เราควรได้รับ? โรงเรียนแบบไหนกันแน่ที่เราอยากให้ลูกหลานเราได้ไป? นี่คือคำถามที่ดังขึ้นทุกขณะในใจผู้เป็นพ่อแม่ทั่วโลก เพื่อจะหาคำตอบให้แก่คำถามนั้น ผู้กำกับพาตัวเองเข้าไปสังเกตการเรียนรู้และเติบโตของเด็กอนุบาลหลายรุ่นในโรงเรียน

THE DESTRUCTION OF MEMORY

การต่อสู้เรียกร้องให้สถาปัตยกรรมได้รับการคุ้มครองในฐานะมรดกทางวัฒนธรรม และเครื่องหมายทางอัตลักษณ์ของมนุษยชาติ เพื่อจะรอดพ้นการถูกทำลายในวิกฤติความขัดแย้ง

คนหมายเลขศูนย์ (Mr. Zero)

บัณฑิต อาร์ณีญาญ์ นักเขียนหนังแปลผู้ถูกจับกุมในมาตรา 112 ถึง 4 ครั้ง ได้รับการปล่อยตัว 2 ครั้งโดยเหตุผลว่าเขามีปัญหาทางจิต อีก 2 คดียังคงอยู่ในชั้นศาล สารคดีใช้วิธีการเล่าโดยนำงานเขียนของบัณฑิตมาผสมผสานเข้ากับเรื่องราวในชีวิตจริง

รอวัน (Hours of Ours)

ครอบครัวชาวซูดานหนีออกจากประเทศมาถึงกรุงเทพฯ เพื่อขอลี้ภัย พวกเขาได้พบกับผู้กำกับหนังไทยคนหนึ่งที่เพิ่งกลับจากต่างประเทศ ด้วยอนาคตที่ไม่แน่นอนในบ้านนี้ ความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งกับผกก. ก็ก่อเกิดเป็นภาพยนตร์ร่วมกัน